บทที่ 2 งานและพลังงาน
บทที่ 2 งานและพลังงาน

งาน
ในทางฟิสิกส์ งาน หมายถึง ผลของแรงที่กระทำให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง
หาค่าได้โดยผลคูณ ระหว่างขนาดของแรงกับระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง งานมีหน่วยเป็นนิวตัน-
เมตร หรือจูล งานเป็นปริมาณสเกลาร์ และหาได้จากสูตร W = FS ………………….
เมื่อ W คือ งานที่ทำโดยแรง F มีหน่วยเป็นจูล S คือ ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวทาง มีหน่วยเป็นเมตร
ในกรณีที่มีแรงคงตัว Fกระทำต่อวัตถุเคลื่อนที่ไปในระยะทาง S ตามแนวแรง ได้งานที่ทำโดย แรง F เป็น FS การออกแรง F ผลักวัตถุ ส่วนในกรณีที่แรง F กระทำกับวัตถุในแนวทำมุม กับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ และทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปเป็นระยะทาง S เช่น ช้างลากซุง คนลากกล่อง เป็นต้น จะต้องหางานที่แรง F โดยแยก แรง F ออกเป็นแรงองค์ประกอบที่ตั้งฉากกัน 2 แรง โดยต้องให้แรงหนึ่งอยู่ในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ แรงกระทำต่อวัตถุในแนวทำมุม กับแนวการเคลื่อนที่ F F S F sin F cosS 2 จึงพอสรุปได้ว่า งานที่เกิดจากแรงกระทำซึ่งไม่อยู่ในแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุจะ หางานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงองค์ประกอบในการเคลื่อนที่กับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ ดังสมการ W = FScos………………….. เป็นมุมระหว่างทิศของแรงที่กระท ากับทิศการเคลื่อนที่ของวัตถุ
งานของแรง F ที่กระทำวัตถุ m เคลื่อนที่ได้ระยะทางหรือขนาดของการกระจัด s







งาน = แรง x ระยะทางตามแนวแรง
W = F • s
งาน W = F Cos θ • s
= Fs Cos θ
= Fs Cos θ
W = Fs Cos θ
*หน่วยของงาน คือ นิวตัน • เมตร (N• M) ซึ่งเรียกใหม่ว่า จูล (Joule,J)
θ = มุมระหว่าง F กับ s
F = แรงที่กระทำต่อวัตถุตลอดเวลาที่เคลื่อนที่
s = ระยะทางนับจากจุดเริ่มต้น
θ = มุมระหว่าง F กับ s
F = แรงที่กระทำต่อวัตถุตลอดเวลาที่เคลื่อนที่
s = ระยะทางนับจากจุดเริ่มต้น
ข้อสังเกต
1. ถ้า F ทิศเดียวกันกับ s ( θ = oo ) งานเป็นบวก, เพราะ COS o
= + 1
W = F Cos o
(s) = + Fs
2. ถ้า F ทิศตรงข้ามกับ s ( θ = 180 ) งานเป็นลบ, เพราะ COS 180
= - 1
W = F Cos 180
(s) = - Fs
3. ถ้า F ตั้งฉากกับ s ( θ = 90
) งานเป็นศูนย์, เพราะ COS 90
= ศูนย์
W = F Cos 90
(s) = ศูนย์
งานจะมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อทิศของแรงตั้งฉากกับการกระจัด และงานของแรงเสียดทาน (f) จะมีค่าเป็นลบเสมอ
แต่ถ้าแรงนั้นเป็นแรงอนุรักษ์ คือ มีค่าคงตัว เช่น แรงโน้มถ่วง(mg) หรือแรงไฟฟ้า งานของแรงอนุรักษ์ที่วัตถุกลับมาตำแหน่งเดิมจะมีค่าเป็นศูนย์1. ถ้า F ทิศเดียวกันกับ s ( θ = oo ) งานเป็นบวก, เพราะ COS o

W = F Cos o

2. ถ้า F ทิศตรงข้ามกับ s ( θ = 180 ) งานเป็นลบ, เพราะ COS 180

W = F Cos 180

3. ถ้า F ตั้งฉากกับ s ( θ = 90


W = F Cos 90

งานจะมีค่าเป็นศูนย์ เมื่อทิศของแรงตั้งฉากกับการกระจัด และงานของแรงเสียดทาน (f) จะมีค่าเป็นลบเสมอ
พลังงานจลน์ หมายถึง พลังงานของวัตถุที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ ซึ่งวัตถุจะเคลื่อนที่ในแนวตรง จะมีพลังงานจลน์เชิงเส้น (Ek) และถ้าวัตถุหมุนจะมีพลังงานจลน์เชิงมุม (Ek rot) จะอธิบายพลังงานจลน์ เชิงเส้นก่อน เมื่อมีการทำงานกับวัตถุจะมีพลังงานเกิดขึ้นกับวัตถุนั้น

เมื่อ Ek เป็นพลังงานจลน์ของวัตถุเมื่อความเร็วหนึ่ง
v เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง
m เป็นมวลของวัตถุ
Ek เป็นปริมาณสเกลาร์มีหน่วยเป็นจูล
พลังงานศักย์
หมายถึง พลังงานที่สะสมในวัตถุเมื่อวัตถุเปลี่ยนตำแหน่งไปจากแนวอ้างอิง แบ่งออกเป็น
1. พลังงานศักย์โน้มถ่วง
2. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
พลังงานศักย์โน้มถ่วง (Gravitation potential energy) เป็นปริมาณสเกลาร์มีหน่วยเป็นจูล
แสดงว่า พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุจะมีปริมาณเท่าใดนั้น ขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบจากระดับอ้างอิง ระดับอ้างอิงเป็นแนวหรือตำแหน่งที่กำหนดขึ้นตามความเหมาะสม เพื่อหาการกระจัด และถ้าการกระจัดทิศขึ้นจากระดับอ้างอิง หรือสูงกว่าระดับอ้างอิง พลังงานศักย์
จะมีเครื่องหมายบวก และถ้าการกระจัดทิศลงจากระดับอ้างอิง หรือต่ำกว่าระดับอ้างอิง พลังงานศักย์จะมีเครื่องหมายลบ
v เป็นอัตราเร็วขณะหนึ่ง
m เป็นมวลของวัตถุ
Ek เป็นปริมาณสเกลาร์มีหน่วยเป็นจูล
พลังงานศักย์


1. พลังงานศักย์โน้มถ่วง
2. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
1. พลังงานศักย์โน้มถ่วง
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เป็นพลังงานที่สะสมในวัตถุ เมื่อวัตถุอยู่สูงจากระดับอ้างอิง





Ep = mgh
Ep เป็นพลังงานศักย์โน้มถ่วง (J)
m คือ มวลของวัตถุ
h คือ ความสูงจากระดับอ้างอิง
m คือ มวลของวัตถุ
h คือ ความสูงจากระดับอ้างอิง



2. พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
หมายถึง พลังงานสะสมในสปริงหรือวัตถุยืดหยุ่น ขณะยืดหรือหดออกจากแนวสมดุล


จาก กฎของฮุค (Hooke’s law)
แรงดึงสปริงจะแปรผันตรงกับระยะที่สปริงเปลี่ยนจากแนวสมดุล



เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น
k คือ ค่าคงตัวของสปริง (N/m)
s คือ ระยะที่เปลี่ยนไปจากแนวสมดุล (m)
k คือ ค่าคงตัวของสปริง (N/m)
s คือ ระยะที่เปลี่ยนไปจากแนวสมดุล (m)
ตัวอย่างที่ 1 นักยกน้ำหนัก ทำสถิติยกเหล็กมวล 120 kg ให้ศูนย์ถ่วงสูงกว่าพื้น 2 m ขณะนั้นเหล็กมีพลังงานศักย์เท่าใด

ตัวอย่างที่ 2 สปริงตัวหนึ่งมีค่าคงตัว 100 N/m ขณะยังไม่ยืดสปริง สปริงยาว 3 cm ถ้ายืดสปริงออกจนยาว 5 cm สปริงมีพลังงานศักย์ยืดหยุ่นเท่าใด

จากความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน
ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกัน อาจจะเป็นความสัมพันธ์ของงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ของงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง หรือความสัมพันธ์ของงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น ดังนี้

1. ความสัมพันธ์ของ W และ Ek

2. ความสัมพันธ์ของ W และ Ep โน้มถ่วง

3. ความสัมพันธ์ของ W กับ Ep ยืดหยุ่น



งานทั้งหมดของระบบจะเท่ากับพลังงานทั้งหมดของระบบที่เปลี่ยนไป
ข้อสังเกต งานทั้งหมดจะเป็นงานเนื่องจากแรงกระทำภายนอก ยกเว้นแรงโน้มถ่วงกับแรงสปริง



ที่มา
:http://1.179.134.197/digitalschool/physics2_2_2/physics3/lesson1/index.php :https://krusinchai.files.wordp ress.com/2011/12/e0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b9885e0b887e0b8b2e0b899e0b981e0b8a5e0b8b0e0b89ee0b8a5e0b8b1e0b887e0b887e0b8b2e0b8991.pdf
:http://1.179.134.197/digitalschool/physics2_2_2/physics3/lesson1/index.php :https://krusinchai.files.wordp ress.com/2011/12/e0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b9885e0b887e0b8b2e0b899e0b981e0b8a5e0b8b0e0b89ee0b8a5e0b8b1e0b887e0b887e0b8b2e0b8991.pdf
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น